วันจันทร์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ : การตั้งชื่อเรื่องความเรียง

         การตั้งชื่อความเรียงก็เป็นสิ่งหนึ่งที่สำคัญเช่นกันสำหรับการทำความเรียง ซึ่งทุกส่วนของความเรียงเชิงวิชาการก็สำคัญไม่แพ้กัน ถ้าขาดส่วนใดส่วนหนึ่งไปคงไปครบองค์ประกอบที่ดี
         คราวนี้เรามาเรื่มพูดถึงเรื่องการตั้งชื่อเรื่องความเรียงกันเลยดีกว่า ก็การตั้งชื่อความเรียงนั้นมีหลักที่สำคัญๆอยู่ 3 หลักนั้นประกอบด้วย
  • สอดคล้องกับเนื้อหาที่เราทำ
  • ไม่เป็นชื่อเรื่องที่กว้างไปหรือแคบไป (ยกตัวอย่างเราทำเกี่ยวกับ กล้วยเล็บมือนาง เราก็ไม่ควรตั้งชื่อเรื่องที่กว้างไป อย่างชื่อเรื่องว่า กล้วย หรือ แคบเกินไปอย่างเช่น การปลูกกล้วยเล็บมือนาง เป็นต้น )
  • เป็นชื่อเรื่องที่คนเห็นแล้วสนใจอยากจะอ่านความเรียงของเรา
      หลักการง่ายๆเพียงสามข้อเท่านั้น ลองนำไปตั้งกันดูนะ :)))))



การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ:หลักการเขียนกิตติกรรมประกาศ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนคำนำ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ความแตกต่างของแหล่งอ้างอิงกับบรรณานุกรม
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ:การทำสื่อการนำเสนอ ในความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :การเรียงลำดับหัวเรื่องของความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :เทคนิคการเขียนความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :รูปแบบของการเขียนเนื้อหาความเรียง
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนสาระย่อ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนกิตติกรรมประกาศ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างหน้าปกความเรียงเชิงวิชาการ

วันอังคารที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2557

การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ : การใส่เชิงอรรถ (Footnote)

การกำหนดเชิงอรรถหรือคำอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับคำศัพท์ หรือข้อความที่ปรากฏ           อยู่ด้านล่างของหนังสือใน Word นั้น สามารถทำได้ ดังนี้
1.  คลิกเมาส์เลือกข้อความ หรือคลิกเมาส์หลังข้อความที่ต้องการแทรกชิงอรรถ
2.  เลื่อนตัวชี้เมาส์ไปที่แถบเมนูการอ้างอิง (Reference) แล้วคลิกเลือกเชิงอรรถ จะปรากฏกล่องโต้ตอบเชิงอรรถและอ้างอิงท้ายเรื่อง (Foote and Endnote) ออกมา
3.  กำหนดค่าของตำแหน่งที่ตั้ง รูปแบบ และนำการเปลี่ยนแปลงไปใช้
4.  คลิกที่ปุ่มแทรก (Insert) เพื่อตกลงสร้างเชิงอรรถ

5.  ป้อนข้อความเพื่อทำเป็นเชิงอรรถ จะได้ผลลัพธ์ดังรูป


การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ:หลักการเขียนกิตติกรรมประกาศ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนคำนำ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ความแตกต่างของแหล่งอ้างอิงกับบรรณานุกรม
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ:การทำสื่อการนำเสนอ ในความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :การเรียงลำดับหัวเรื่องของความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :เทคนิคการเขียนความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :รูปแบบของการเขียนเนื้อหาความเรียง
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนสาระย่อ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนกิตติกรรมประกาศ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างหน้าปกความเรียงเชิงวิชาการ

การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ : ทำดัชนี (Index)

การทำงานด้านเอกสารต่างๆ  เช่น หนังสือ จะต้องทำดัชนี Index ไว้เป็นรายการอ้างอิง คำศัพท์ โดยจะอ้าวอิงตามเลขหน้าที่อยู่ในเอกสาร เพื่อช่วยให้ค้นหาความหมายของหรือวลีต่าง ๆ ในเอกสารได้อย่างรวดเร็วสำหรับใน Word มีความสามารถในการจัดทำดัชนีได้ โดยจะต้องทำ        2 ขั้นตอนคือ การเลือกคำที่จะนำมาททำเป็นดัชนี และการทำดัชนี ซึ่งสามารถทำได้ดังนี้  
 การเลือกคำที่จะนำมาทำดัชนี  มีขั้นตอนดังนี้
1.  คลิกเมาส์เลือกข้อความที่ต้องการทำเป็นดัชนี
2.  กดคีย์<Alt+Shift+X> จะปรากฏกล่องโต้ตอบ Mark Index Entry ออกมา
3.  คลิกเมาส์ที่ Current page ในกล่องโต้ตอบ Mark Index Entry
4.  คลิกเมาส์ที่ปุ่ม Mark จะสังเกตเห็นว่าคำที่ถูกเลือกจะมีอักขระ กำกับอยู่ หรือคลิกเมาส์  ที่ปุ่ม Mark All ถ้า                                 ต้องการนำทุกคำในเอกสารนี้มากำหนดเป็นดัชนี

5.  คลิกเมาส์ที่ปุ่ม Cancel เพื่อยกเลิกการกำหนดดัชนี
เมื่อได้กำหนดคำที่จะนำมาใช้ทำเป็นดัชนีแล้ว ต่อไปจะเป็นขั้นตอนที่นำคำทั้งหมดมาจัดเป็นหน้าดัชนี  สามารถทำได้ดังนี้
1.  คลิกเมาส์เลือกตำแหน่งในเอกสารที่จะใส่ดัชนี
2.  เลื่อนตัวชี้เมาส์ไปที่แถบเมนูการอ้างอิง (Reference) แล้วคลิกแทรกดัชนี Insert (Index)
3.  คลิกเมาส์เลือกแถบดัชนี (Index)
4.  คลิกเมาส์กำหนดรูปแบบของดัชนีได้ในช่อง Formats แล้วดูตัวอย่างของผลลัพธ์ในช่อง Print Preview คลิกปุ่ม OK เพื่อตกลงสร้างดัชนีตามรูปแบบที่ได้เลือกไว้ จะได้ผลลัพธ์ ดังรูป




การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ:หลักการเขียนกิตติกรรมประกาศ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนคำนำ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ความแตกต่างของแหล่งอ้างอิงกับบรรณานุกรม
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ:การทำสื่อการนำเสนอ ในความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :การเรียงลำดับหัวเรื่องของความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :เทคนิคการเขียนความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :รูปแบบของการเขียนเนื้อหาความเรียง
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนสาระย่อ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนกิตติกรรมประกาศ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างหน้าปกความเรียงเชิงวิชาการ

วันจันทร์ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2557

การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ : การใส่ลำดับเลขหน้า

การใส่เลขหน้าในกระดาษ และท้ายกระดาษของการจัดหนังสือ หรือเอกสารนั้น จะเป็นการใส่เลขหน้าให้เรียงลำดับหน้าโดยอัตโนมัติ ซึ่งสามารถทำได้ดังนี้
1.  เลื่อนตัวชี้เมาส์ไปที่แถบเมนูแทรก (Insert) แล้วคลิกคำสั่งหมายเลขหน้า (Page Numbers) จะปรากฏเมนูย่อยออกมา

2.  กำหนดตำแหน่งการใส่ลำดับเลขหน้าในเมนูย่อย โดยจะประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ          ที่สำคัญ ดังนี้
                 3.  คลิกเลือกรูปแบบตำแหน่งหมายเลขหน้า


การจัดรูปแบบหมายเลขหน้า  สามารถกำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขของเลขหน้า     จะปรากฏกล่องโต้ตอบรูปแบบหมายเลขหน้า (Page Number Format) โดยมีส่วนประกอบต่าง ๆ    ที่สำคัญดังนี้
  Number format ใช้สำหรับกำหนดรูปแบบตัวเลขที่ถูกแสดง เช่น 1, 2, 3,...หรือ a, b, c,… หรือ A, B, C, .. หรือ  i, i ,iii…หรือ l, ll, lll..เป็นต้น
  Page numbering   ใช้สำหรับกำหนดค่าเริ่มต้นของเลขหน้าโดยมีตัวเลือกดังนี้
  Continue from previous section ใช้สำหรับกำหนดลำดับเลขหน้า ให้ต่อเนื่องจาก   ส่วนก่อนหน้า
  Start at ใช้สำหรับกำหนดหน้าเริ่มต้น ตามค่าตัวเลขที่ใส่ไว้หลังตัวเลือกนี้
4.  คลิกเมาส์ที่ปุ่ม  เพื่อตกลงใช้ตำแหน่งของเลขหน้าที่เลือกไว้ผลลัพธ์ที่ได้      จะแสดงดังรูป

รูปแบบของเลขหน้า เช่น เปลี่ยนฟอนต์ ปรับขนานตัวเลข สามารถแก้ไขได้   โดยเข้าไปแก้ไขที่หัวกระดาษหรือท้ายกระดาษ โดยการคลิกเมนูแทรก (Insert) คลิกหัวกระดาษ     หรือท้ายกระดาษ (Header and Footer) จากนั้นจึงทำการแก้ไขสิ่งต่าง ๆ ได้ตามต้องการ



การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ:หลักการเขียนกิตติกรรมประกาศ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนคำนำ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ความแตกต่างของแหล่งอ้างอิงกับบรรณานุกรม
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ:การทำสื่อการนำเสนอ ในความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :การเรียงลำดับหัวเรื่องของความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :เทคนิคการเขียนความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :รูปแบบของการเขียนเนื้อหาความเรียง
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนสาระย่อ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนกิตติกรรมประกาศ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างหน้าปกความเรียงเชิงวิชาการ

การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ : การใส่ข้อความในหัวกระดาษ (Header) และท้ายกระดาษ (Footer)

                เอกสารบางอย่างจะมีส่วนหัวและท้ายกระดาษปรากฏทุกหน้า  ทำให้เอกสารสวยงาม       และอ่านได้ง่าย สะดวกในการค้นหา เช่น ใส่ชื่อไฟล์เอกสารไว้ในท้ายกระดาษจะทำให้การค้นหาข้อมูลในไฟล์เอกสารบนคอมพิวเตอร์ได้ง่ายยิ่งขึ้น ซึ่งใน Microsoft  Word สามารถทำการกำหนดหัวกระดาษ (Header) และท้ายกระดาษ (Footer) ได้ง่าย และสามารถกำหนดรูปแบบการแสดง   ส่วนหัวกระดาษ และท้ายกระดาษได้ตามต้องการ
หัวกระดาษจะพิมพ์ที่ขอบด้านบน และส่วนท้ายกระดาษจะพิมพ์ที่ขอบด้านล่าง    ของหน้ากระดาษ โดยวิธีการใส่ส่วนหัวกระดาษ และท้ายกระดาษสามารถทำได้ดังนี้
1.  เลือกเมนูแทรก (Insert) คลิกคำสั่งหัวกระดาษ (Header) จะปรากฏรูปแบบ ของหัวกระดาษ ท้ายกระดาษ และแถบเครื่องมือออกแบบบนแถบเครื่องมือหัวกระดาษ
2.  คลิกเลือกรูปแบบตามต้องการ
3.  ป้อนข้อความในหัวกระดาษ  (หรือแทรกรูปภาพได้)
4.  คลิกนอกกรอบหัวกระดาษ เพื่อกลับไปยังหน้าจอเอกสารปกติ

ผลลัพธ์ที่ได้จะแสดง ส่วนหัวกระดาษเป็นสีเทา ซึ่งในขณะนี้จะไม่สามารถแก้ไขส่วนหัวกระดาษได้อีก



ส่วนการแทรกท้ายกระดาษ (Footer) ทำคล้ายกับขั้นตอนการแทรกหัวกระดาษ  สำหรับรายละเอียดของแถบเครื่องมือหัวกระดาษและท้ายกระดาษ (Header and Footer)   จะมีปุ่มต่าง ๆ ที่สำคัญดังนี้

ในกรณีที่ต้องการกลับไปแก้ไขส่วนหัวกระดาษและท้ายสุดกระดาษ สามารถทำได้  2 วิธี ดังนี้
1.  เลือกเมนูแทรก (Insert) คลิกคำสั่งหัวกระดาษ (Header) หรือท้ายกระดาษ (Footer) หรือ
2.  ดับเบิ้ลคลิกที่ส่วนหัวกระดาษ หรือท้ายกระดาษก็ได้ 

การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ:หลักการเขียนกิตติกรรมประกาศ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนคำนำ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ความแตกต่างของแหล่งอ้างอิงกับบรรณานุกรม
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ:การทำสื่อการนำเสนอ ในความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :การเรียงลำดับหัวเรื่องของความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :เทคนิคการเขียนความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :รูปแบบของการเขียนเนื้อหาความเรียง
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนสาระย่อ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนกิตติกรรมประกาศ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างหน้าปกความเรียงเชิงวิชาการ

วันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :หลักการเขียนกิตติกรรมประกาศ

                  กิตติกรรมประกาศคือการเขียน ขอบคุณบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการทำรายงานหรือความเรียงเชิงวิชาการในครั้งนี้โดยเริ่มแรก เราจะพูดเกริ่นประมาณว่า การเขียนรายงานเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทย และถ้าไม่มีบุคคลพวกนี้ที่ได้ให้คำแนะนำในการทำงานเราก็ไม่สามารถประสบความสำเร็จในการเขียนรายงานความเรียงเชิงวิชาการได้ ได้แก่
                  คุณครูอะไรบ้างก็ว่าไปช่วยทำอะไรในการทำรายงานความเรียงเชิงวิชาการของเรา               ผู้ปกครองมีส่วนช่วยอะไร เพื่อๆคอยให้กำลังใจ  สถานที่ที่ไหนที่ไปทำงานกัน แหล่งค้นคว้าหาข้อมูลที่ไหนก็ว่าไป เช่น ห้องสมุดโรงเรียน หรือ ห้องค้นคว้าของโรงเรียนเป็นต้น แค่นี้แหละหลักการง่ายๆในการเขียนกิตติกรรมประกาศของความเรียงเชิงวิชาการ


การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ:หลักการเขียนกิตติกรรมประกาศ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนคำนำ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ความแตกต่างของแหล่งอ้างอิงกับบรรณานุกรม
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ:การทำสื่อการนำเสนอ ในความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :การเรียงลำดับหัวเรื่องของความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :เทคนิคการเขียนความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :รูปแบบของการเขียนเนื้อหาความเรียง
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนสาระย่อ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนกิตติกรรมประกาศ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างหน้าปกความเรียงเชิงวิชาการ

การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนคำนำ

คำนำ

                   รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชา ภาษาไทย ได้จัดทำเรื่อง กายวิภาคศาสตร์ โดยได้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษา ความหมายของกายวิภาคศาสตร์  ส่วนประกอบของร่างกาย  รพบบการทำงานต่างๆของร่างกาย
                   ในระหว่างการจัดทำรายงานก็ต้องขอขอบคุณคุณครู  สอนภาษา  ใจดี ที่ได้ให้คำปรึกษาระหว่างการทำงาน ดิฉันหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ต้องการศึกษาอย่างยิ่ง 




                                                                                                                                 ผู้จัดทำ
                                                                                                                         ๑๙ ก.พ. ๒๕๕๖



การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ:หลักการเขียนกิตติกรรมประกาศ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนคำนำ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ความแตกต่างของแหล่งอ้างอิงกับบรรณานุกรม
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ:การทำสื่อการนำเสนอ ในความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :การเรียงลำดับหัวเรื่องของความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :เทคนิคการเขียนความเรียงเชิงวิชาการ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :รูปแบบของการเขียนเนื้อหาความเรียง
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนสาระย่อ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างการเขียนกิตติกรรมประกาศ
การเขียนความเรียงเชิงวิชาการ :ตัวอย่างหน้าปกความเรียงเชิงวิชาการ